
ข่าวใหญ่ที่สร้างความแตกตื่นให้
เนื่องจากพบว่าเกษตรกรกว่า 80% ใส่กรดซัลฟิวริคให้น้ำยางแข็งตัว ซึ่งมีผลให้คุณภาพยางลดลง และเมื่อนำไปผลิตล้อยางรถยนต์
อีกทั้งยังมีข่าวว่า ทั้งสองบริษัทเตรียมล้มแผนที่
แม้จะไม่ใช่เรื่องจริง แต่ “อินทรีทนง” มองว่า ไหนๆ ประเด็นของการใช้กรดซัลฟิวริ คในการผลิตยางก้อนถ้วยถูกจุ ดประเด็นขึ้นมาแล้ว ก็ไม่ควรปล่อยให้นิ่งเงียบ เพราะปัญหานี้เคยเป็นเรื่องเป็ นข่าวมาแล้วหลายครั้ง แต่สุดท้ายก็เงียบไป เกษตรกรชาวสวนยางก็ยังคงใช้ กรดฟอร์มิค ราคาต่ำ แต่ฉุดให้คุณภาพยางต่ำไปด้วย
ว่ากันว่าปัจจุบันภาคอีสานมีสัดส่วนการใช้กรดซัลฟิวริคมากถึง 80% เราควรหยิบยกเรื่องนี้ขึ้นมาเป็ นประเด็นเร่งด่วน และแก้ไขทันที เพื่อให้ยางของไทยมีคุณภาพสูงขึ้ น
ว่ากันว่าปัจจุบันภาคอีสานมีสัดส่วนการใช้กรดซัลฟิวริคมากถึง 80% เราควรหยิบยกเรื่องนี้ขึ้นมาเป็
กรดซัลฟิวริค ต้นทุนต่ำกว่า ฟอร์มิค จริงหรือ เรื่องที่เกษตรกรควรรู้
นางปรีดิ์เปรม ทัศนกุล นักวิชาการชำนาญการพิเศษ ศูนย์วิจัยยางสงขลา การยางแห่งประเทศไทยเจ้ าของงานทดลองและงานวิจัยเกี่ยวกั บผลกระทบของกรดซัลฟิวริคในการทำยางก้อนถ้วย ที่ติดตามเรื่องนี้มาอย่างต่ อเนื่อง บอกว่า ชาวสวนยางมักเข้าใจผิดว่า กรดฟอร์มิคราคาสูงกว่ากรดซัลฟิวริค
แต่ความจริงแล้วต้นทุนของกรดซั ลฟิวริคค่อนข้างต่ำ แต่ผู้ผลิตกลับนำมาขายราคาสูง ราคาประมาณขวดละ 15-20 บาท ซึ่งเป็นราคาที่แพงมาก แต่เกษตรกรดูเผินนึกว่าไม่แพง แต่หากเกษตรกรซื้อกรดฟอร์มิ คมาผสมเอง จะได้กรดถูกกว่าซื้อซัลฟิวริ คสำเร็จรูปมาใช้
แต่ความจริงแล้วต้นทุนของกรดซั
อีกทั้งยังพบว่าเกษตรกรมักจะใช้
ส่วนกรดฟอร์มิค เป็นกรดอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่มี ประสิทธิภาพในการจับตัวเนื้ อยางได้อย่างสมบูรณ์ ภายในเวลา 45-60 นาที ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ไม่มีสารตกค้างในเนื้อยาง และปลอดภัยต่อผู้ใช้
กรดฟอร์มิคมักใช้ในการผลิตยางที่ เน้นคุณภาพสูง เช่น ยางแท่ง STR 5L ช่วงให้เนื้อยาเมื่อแห้งแล้วสี เหลืองสวย ไม่เหนียวเหนอะหนะ และยืดหยุ่นดี ที่ผ่านมา สถาบันวิจัยยาง ได้แนะนำให้เกษตรกรชาวสวนยางใช้ กรดฟอร์มิคในการทำยางแผ่นดิบ ยางแผ่นรมควัน และยางก้อนถ้วย ทำให้ได้ยางคุณภาพ ขายได้ราคาสูง
จึงจะเห็นได้ว่า การที่เกษตรกรชาวสวนยางภาคอี สานนิยมใช้กรดซัลฟิวริค เพื่อลดต้นทุน เอาเข้าจริงอาจจะมีต้นทุนสูงกว่ ากรดฟอร์มิคด้วยซ้ำไป หากเปรียบเทียบด้านคุ ณภาพยางและราคาขาย
ด้านการยางแห่งประเทศไทย (กยท.) ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักที่มี บทบาทสำคัญต่อการให้ คำแนะนำและรณรงค์การผลิตยางคุ ณภาพของเกษตรกร กำลังเร่งเดินหน้าสร้างความเข้ าใจกับเกษตรกรเพื่อให้การใช้ กรดซัลฟูริคลดลง โดยเฉพาะพื้นที่ภาคอีสาน ซึ่งมีเกษตรกรใช้กรดซัลฟิวริก ถึงร้อยละ 60 และใช้กรดฟอร์มิคร้อยละ 40
ดร.ธีธัช สุขสะอาด ผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า สถาบันวิจัยยาง หน่วยงานในสังกัดของ กยท. กำลังดำเนินการนำผลงานวิจัยเกี่ ยวกับผลกระทบของกรดซัลฟิวริ คมาเผยแพร่แก่เกษตรกร เนื่องจากกรดชนิดนี้ทำให้ยางก้ อนถ้วยคุณภาพยางลดลง มีความยืดหยุ่นต่ำ
ก้อนยางมีความชื้นสูง สีคล้ำ แต่สิ่งที่ กยท. คำนึงถึงมากที่สุดคือ กรดซัลฟิวริคเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ ต่อเกษตรกร และสิ่งแวดล้อม
“ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา
กยท. ยืนยัน ได้รณรงค์ไม่ให้ใช้กรดซัลฟิวริค
และสามารถลดการใช้กรดดังกล่าวลงกว่าร้อยละ 40 และเชื่อว่าจะหมดไปในอีก 2 ปีข้างหน้า ส่วนปริมาณการผลิตในพื้นที่ภาคอีสาน ขณะนี้มีประมาณ 573,000 ตันและมีพื้นที่ปลูกยางล่าสุด จำนวน 4,726,466 ไร่ เปิดกรีดแล้ว 3,240,734 ไร่ และคาดว่าจะเพิ่มสูงขึ้น จึงอยากแนะนำให้เกษตรกรหันมาใช้กรดฟอร์มิค
เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาด้านคุณภาพยางและฉุดราคายางจนเป็นปัญหาในระยะยาว และจะทำให้การผลิตยางมีคุ ณภาพเพิ่มขึ้นตามไปด้วย”
ส่วน นายวิชิต ลี้ประเสริฐ นายกสมาคมช าวสวนยางบุรีรัมย์ ให้ความคิดเห็นในเรื่องเดียวกั นนี้ว่า การจะเปลี่ยนให้เกษตรกรหันมาใช้ กรดฟอร์มิคแทนกรดซัลฟิวริคไม่ใช่ เรื่องยาก หากแต่ไม่ใช่ทำจังหวัดใดจังหวั ดหนึ่ง ต้องทำพร้อมกันทั้งภาคจึงจะเห็ นผล
เพราะหากข่าวที่โรงงานประกาศไม่ ซื้อยางจากภาคอีสานเพราะใช้ กรดซัลฟิวริคเป็นเรื่องจริง เกษตรกรจะรู้ด้วยตัวเองว่ าขายยางไม่ได้ สุดท้ายก็จะต้องปรับเปลี่ยน เมื่อมีผลกระทบก็ต้องเปลี่ยน ซึ่งไม่ใช่เรื่องยากอะไร แค่เปลี่ยนจากกรดซัลฟิวริคมาใช้ กรดฟอร์มิคเท่านั้นเอง
เพราะหากข่าวที่โรงงานประกาศไม่
จากข้อมูลทั้งหมดพอจะทำให้เห็นภาพว่า
การผลิตยางก้อนถ้วยต้องใช้กรดฟอร์มิค แทนการใช้กรดซัลฟิวริค
ซึ่งเมื่อดูทิศทางก็จะเห็นว่าสัดส่วนหารใช้กรดฟอร์มิคในพื้นที่ภาคเพิ่มขึ้นจาก 20% เป็น 60%
ขณะที่กรดซัลฟิวริค เหลือ 40% แต่คำถามก็คือ ทำอย่างไรให้สัดส่วนการใช้กรดฟอร์มิคเป็น 100% ซึ่งทาง กยท. ตั้งธงไว้แล้วว่าจะทำให้ได้ภายใน 2 ปี นั่นหมายยางพาราของไทยจะมีคุณภาพสูงขึ้นตามไปด้วย
ขณะที่กรดซัลฟิวริค เหลือ 40% แต่คำถามก็คือ ทำอย่างไรให้สัดส่วนการใช้กรดฟอร์มิคเป็น 100% ซึ่งทาง กยท. ตั้งธงไว้แล้วว่าจะทำให้ได้ภายใน 2 ปี นั่นหมายยางพาราของไทยจะมีคุณภาพสูงขึ้นตามไปด้วย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น