การยางแห่งประเทศไทย เวทีสัมมนาเครือข่ายผู้ผลิ ตน้ำยางสดและพนักงานผู้รับผิ ดชอบในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจั งหวัดชายแดนภาคใต้ทั้ง 5 จังหวัด ได้แก่
สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส มีเกษตรกรชาวสวนยาง ตัวแทนกลุ่มสถาบันเกษตรกร
และพนักงาน กยท. ที่เกี่ยวข้องรวมประมาณ 140 คน หวังพัฒนาตลาดน้ำยางสด
ซึ่งเป็นผลผลิตหลั กของเกษตรกรชาวสวนยางในพื้นที่ ภาคใต้
ให้มีการพัฒนาทั้งระบบสอดคล้ องกับนโยบายรัฐบาลที่จะพั ฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นเมืองต้นแบบสามเหลี่ยมแห่ งความมั่งคั่ง มั่นคง
ยั่งยืน ซึ่งจะส่งผลต่อเศรษฐกิจของชาติ ต่อไป ภายใต้หลักการเข้าใจ เข้าถึง
พัฒนา ที่เกิดจากความมีส่วนร่วมจากทุ กภาคส่วน
นายธีรวัฒน์
เดชทองคำ รองผู้ว่าการ กยท. กล่าวว่า ยุทธศาสตร์การพั ฒนายางพาราตลอดห่วงโซ่อุปทาน
และห่วงโซ่คุณค่า เพื่อเป็นการปรับปรุงการผลิ ตยางพารา
สนับสนุนการผลิตวัตถุดิบที่มีคุ ณภาพ และพัฒนาระบบตลาดให้มีประสิทธิ ภาพ
เพื่อช่วยในการขับเคลื่ อนการดำเนินงานพัฒนาสถาบั นเกษตรกรในการสร้างเครือข่ายผู้ ผลิตน้ำยางสด
รวมไปถึงบทบาทสำคัญในการช่วยขั บเคลื่อนนโยบายรัฐในการพั ฒนายางพาราของประเทศ
ซึ่งจะเป็นการช่วยแก้ปั ญหาโดยการใช้หลักความเข้าใจ เข้าถึง
และพัฒนาเกษตรกรชาวสวนยางให้มี ประสิทธิภาพและสอดรับกั บนโยบายรัฐบาล
โดยมุ่งหวังให้กลุ่มสถาบั นเกษตรกรให้ความร่วมมือกันเพื่ อยกระดับการพัฒนาเครือข่ายน้ำ ยางสดให้มีความมั่นคง
สามารถดำเนินงานด้ านตลาดยางพาราทั้งระบบได้อย่ างเกิดประโยชน์สูงสุด
และเป็นกำลังหลักที่จะพัฒนาอาชี พการทำสวนยางให้มีความยั่งยืน
จะส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจชาติ เพื่อรองรับและเชื่อมโยงการเติ บโตของตลาดยางพาราโลกในอนาคต
“ขอให้เกษตรกรชาวสวนยางทุกท่าน
ไว้วางใจใน กยท. แม้ว่า เราจะเป็นองค์กรใหม่ ที่เพิ่งหลอมรวมกัน
แต่เรามีความพยายามอย่างเต็มที่ เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของพี่น้ องเกษตรกรชาวสวนยาง
ล่าสุด กยท.ได้มีการผลักดันค่าใช้จ่ ายในการส่งเสริมและสนับสนุ นสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง
พ.ศ.2560 ได้แก่ การให้กู้ยืมเงิน เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสำหรั บประกอบอาชีพการทำสวนยางทั้ งเกษตรกรชาวสวนยาง
สถาบันเกษตรกรชาวสวนยางและผู้ ประกอบกิจการยางในการแปรรูปพั ฒนา
รวบรวมผลผลิต การจัดสวัสดิการเพื่ อเกษตรกรชาวสวนยาง ประสบภัย ธรรมชาติ และอื่นๆ การส่งเสริมและสนับสนุนสถาบั นเกษตรกรชาวสวนยาง ในการรวมกลุ่ม และประกอบกิจกรรมต่างๆ นำไปสู่ความเข้มแข็งและยั่งยืน
ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา พร้อมมีผลบังคับใช้ทันที เกษตรกรชาวสวนยางสามารถยื่ นคำขอได้แล้วทั่วประเทศ
รวมถึงสถาบั นเกษตรกรชาวสวนยางและผู้ ประกอบกิจการยางเช่นกัน” นายธีรวัฒน์ กล่าวย้ำ
นายจำนัล
เหมือนดำ เลขานุการผู้แทนพิเศษของรัฐบาล
(ครม.ส่วนหน้า) เปิดเผยว่า ตามมติที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่ อวันที่ 4 ตุลาคม 2559 ก่อให้เกิดโครงการเมืองต้ นแบบสามเหลี่ยมแห่งความมั่งคั่ง
มั่นคง ยั่งยืน ประกอบด้วย อำเภอเบตง อำเภอสุไหงโกลก อำเภอหนองจิก
ซึ่งจะเชื่อมโยงภาคการเกษตร อุตสาหกรรม และการพาณิชย์
เพื่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทยทั้ งในเรื่อง
การคมนาคม เศรษฐกิจ สังคม
โดยมุ่งเน้นเข้าสู่การพัฒนายุ คใหม่
ไทยแลนด์ 4.0 ภายในปี 2560-2562 โดยมีผู้แทนพิเศษของรั ฐบาลจากหน่วยงานต่างๆ มาเป็นคณะกรรมการ
7 กลุ่มภารกิจงาน ประกอบด้วย 1.
งานรักษาความปลอดภัยในชีวิ ตและทรัพย์สิน 2.งานอำนวยความยุติธรรมและเยี ยวยาผู้ได้รับผลกระทบ
3. งานสร้างความเข้าใจทั้งในและต่ างประเทศ/เรื่องสิทธิมนุษยชน 4.งานการศึกษา
ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม 5. งานพัฒนาตามศักยภาพของพื้นที่ และคุณภาพชีวิตประชาชน
6. งานเพิ่มประสิทธิภาพภาครัฐ และการขับเคลื่อนนโยบาย 7.
งานแสวงหาทางออกจากความขัดแย้ งโดยสันติวิธี
เหล่านี้ล้วนมีผลต่อการอยู่ร่ วมกัน
เข้าใจกันและไม่แตกแยกกัน ซึ่งจำเป็นต้องได้รับความร่วมมื อจากประชาชน
จึงจะทำให้ความเป็นอยู่ ของคนไทยทุกคนดีขึ้น
นายจำนัล กล่าวเพิ่มเติมว่า ปัญหาที่สำคั
Advertising
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น